วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์
Communication and Electronics Engineering

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์

ปัจจุบันการสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ ถือได้ว่าเป็นสื่อกลางที่สำคัญในการขับเคลื่อนระบบอุตสาหกรรมทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ หรือแม้แต่ในชีวิตประจำวัน อีกทั้งการสื่อสารแบบไร้สายก็ได้กลายเป็นสิ่งที่เรามักพบเห็นได้มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการสื่อสารผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ (มือถือ) และอินเทอร์เน็ตไร้สาย ทำให้การมีสายส่งสัญญาณที่ช่วยให้การสื่อสารเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด กลายเป็นความท้าทายที่วิศวกรในสาขานี้ จะได้พัฒนาการสื่อสารทั้งระบบมีสายและไร้สาย เพื่อตอบโจทย์การทำงานและการใช้ชีวิตของผู้คนในปัจจุบัน

จุดเด่นของหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ มุ่งเน้นพัฒนาบุคลากรที่มีความรอบรู้ตั้งแต่พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า ด้านการออกแบบ การสร้าง และการประยุกต์ใช้งาน ผสมผสานกับการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ตระหนักถึงความรวดเร็ว สะดวก และปลอดภัย โดยมีความสำนึกในคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมทางวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ได้

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์เรียนเกี่ยวกับอะไร?

เนื้อหาการเรียน วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ จะเน้นการศึกษาองค์ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า ตั้งแต่ด้านการออกแบบ การสร้าง และการประยุกต์ใช้งาน ผสมผสานกับการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อพัฒนาบุคลากรที่เป็นประโยชน์ต่อภาคอุตสาหกรรมระดับประเทศและระดับนานาชาติได้ โดยเนื้อหาการเรียนที่น่าสนใจมีดังนี้

  • Wireless Communications and Applications การสื่อสารไร้สายและการประยุกต์ใช้งาน
  • Photonics Systems and Applications ระบบโฟโตนิกส์และการประยุกต์ใช้งาน
  • Next Generation Telecommunication and Security โครงข่ายโทรคมนาคมยุคใหม่และความปลอดภัย
  • Antenna Technologies เทคโนโลยีสายอากาศ
  • Mobile and Cellular Communication การสื่อสารเคลื่อนที่และเซลลูลาร์
  • Circuits Design การออกแบบวงจร
  • RF and Microwave Circuits Design การออกแบบวงจรย่านความถี่วิทยุและไมโครเวฟ
  • Electrical and Product Design การออกแบบไฟฟ้าและผลิตภัณฑ์
  • IPC and quality standard

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์จบมาทำงานอะไรได้บ้าง

อาชีพที่รองรับหลังเรียนจบวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ นับว่ามีความหลากหลาย และมีความมั่นคงสูง เนื่องจากเป็นสายอาชีพที่ยังขาดแคลนและเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานเป็นอย่างมาก โดยฐานเงินเดือนของผู้ที่เรียนจบจากวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้าจะขึ้นอยู่กับความรู้ความสามารถ

  • วิศวกรสื่อสารโทรคมนาคม ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 25,000 – 40,000 บาท
  • วิศวกรอิเล็กทรอนิกส์ ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 25,000 – 40,000 บาท
  • วิศวกรฝ่ายบริการและติดตั้ง ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 25,000 – 40,000 บาท
  • นักวิชาการและนักวิจัย ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 25,000 – 40,000 บาท

คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.)

วิศวกรรมไฟฟ้า

Bachelor of Engineering (B.Eng.)

Electrical Engineering

สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์

Communication and Electronics Engineering

หลักสูตรที่ได้การรับรอง
จากสภาวิศวกร

ก.ว.

หลักสูตรที่ได้การรับรองคุณวุฒิ จากสำนักงาน  

ก.พ.

4 ปี

ปกติ

4 ปี

สหกิจ

4 ปี

4 ปี

สหกิจ

2.5 ปี

เทียบโอน วันธรรมดา

2.5 ปี

เทียบโอน เสาร์-อาทิตย์

เทียบโอน

วันธรรมดา

เทียบโอน

เสาร์-อาทิตย์

กยศ.

กรอ.

Human Capital

0

จำนวนบัณฑิตของเรา​

เนื้อหาการเรียนในแต่ละชั้นปี

เทอมที่ 1
ภาษาอังกฤษในโลกดิจิทัล
English in the Digital World
แคลคูลัสเบื้องต้น
Elementary Calculus
เคมี
Chemistry
ปฏิบัติการเคมี
Chemistry Laboratory
ฟิสิกส์ 1
Physics I
ปฏิบัติฟิสิกส์
Physics Laboratory
เทอมที่ 2
แคลคูลัสหลายตัวแปร
Multivariable Calculus
ฟิสิกส์ 2
Physics II
ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์
Scientific Laboratory
การออกแบบและนวัตกรรมวิศวกรรม
Engineering Innovation and Design
กลศาสตร์วิศวกรรม
Engineering Mechanics
พื้นฐานการเขียนแบบงานวิศวกรรม
Fundamental Engineering Drafting
เทอมที่ 1
พีชคณิตเชิงเส้นและสมการเชิงอนุพันธ์
Linear Algebra and Differential Equations
โลกและอวกาศ Earth and Space
วัสดุวิศวกรรม Engineering Materials
พื้นฐานการเขียนแบบงานวิศวกรรม Fundamental Electrical Engineering
การสื่อสารกับการประยุกต์ทางแม่เหล็กไฟฟ้า Communications and Electromagnetics Applications
การออกแบบระบบดิจิทัล และสมองกลฝังตัวพื้นฐาน Basic Digital and Embedded System Design
สถิติสำหรับการแก้ปัญหา Statistics for Problem Solving
เทอมที่ 2
วิยุตคณิต Discrete Mathematics
ภาษาอังกฤษสำหรับสเต็มศึกษา English for STEM Education
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer Programming
อุปกรณ์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Devices and Circuits
การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC Circuit Analysis
การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า Electrical Instruments and Measurements
ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้า Electrical Engineering Laboratory
เทอมที่ 1
ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
English for Engineering and Technology
วิทยาศาสตร์อุณหภาพของไหลเบื้องต้น
Introduction to Thermal-Fluid Sciences
เครื่องจักรไฟฟ้า
Electrical Machines
อิเล็กทรอนิกส์กำลัง
Power Electronics
ระบบควบคุมอัตโนมัติ
Automatic Control Systems
ปัญญาประดิษฐ์และวิทยาศาสตร์ข้อมูล
AI and Data Science
ปฏิบัติการพลังงานแสงอาทิตย์
Solar Energy Laboratory
เทอมที่ 2
ไดอะแกรมไฟฟ้าและมาตรฐานความปลอดภัย
Electrical Schematics and Safety Standards
การประยุกต์ใช้งานเครื่องจักรไฟฟ้า
Electrical Machines Application
การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย
Data Communication and Network
พีแอลซี/สกาดาสำหรับระบบควบคุมอัตโนมัติ
PLC/SCADA for Automatic Control Systems
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
เทอมที่ 3
การฝึกงานอุตสาหกรรม
Industrial Training
เทอมที่ 1
โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า 1
Electrical Engineering Project I
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
วิชาในหมวดวิชาเลือกเสรี
วิชาในหมวดวิชาเลือกเสรี
เทอมที่ 2
โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า 2
Electrical Engineering Project II
ภาษาอังกฤษธุรกิจสำหรับที่ทำงาน Business English for the Workplace
จรรยาบรรณสำหรับวิศวกร Ethics for Engineers
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
วิชาหมวดเฉพาะเลือกตามกลุ่มวิชา
เซนเซอร์และระบบในอุตสาหกรรม
Industrial Sensors and System
การปรับพีไอดี และการควบคุมกระบวนการในอุตสาหกรรม
PID Tuning and Industrial Process Control
การควบคุมแบบปัญญาประดิษฐ์และระบบฟัซซีลอจิก
Artificial Intelligent Control and Fuzzy Logic Systems
วิศวกรรมหุ่นยนต์
Robotic Engineering
สกาดาและระบบควบคุมขั้นสูงสำหรับอุตสาหกรรม
SCADA and Advanced Industrial Control Systems
ไอโอทีอุตสาหกรรมสำหรับระบบควบคุมและเครื่องมือวัด
Industrial IoT for Control and Instrumentation Systems
การออกแบบพีไอดีและระบบควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์
PID Designs and Computer Control Systems
การประยุกต์ใช้ระบบสมองกลฝังตัวในวิศวกรรมอัตโนมัติ
Embedded Application in Automation Engineering
การจัดการและการประกันคุณภาพในอุตสาหกรรม
Industrial Management and Quality Assurance
หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมการควบคุมอุตสาหกรรม
Special Topics in Industrial Control Engineering
หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมเครื่องมือวัด
Special Topics in Instrumentation Engineering
การออกแบบการผลิตอัจฉริยะ
Smart Manufacturing Design
คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบและผลิตและการพิมพ์ 3 มิติสำหรับระบบควบคุมอุตสาหกรรม
CAD/CAM and 3D Printing for Industrial Control Systems
ตัวขับเร้าและอุปกรณ์ควบคุมตัวสุดท้ายสำหรับระบบควบคุมอุตสาหกรรม
Actuator and Final Control Element for Industrial Control Systems
เทอมที่ 1
แคลคูลัสเบื้องต้น
Elementary Calculus
เคมี
Chemistry
ปฏิบัติการเคมี
Chemistry Laboratory
ฟิสิกส์
Physics
ปฏิบัติฟิสิกส์
Physics Laboratory
กลศาสตร์วิศวกรรม
Engineering Mechanics
พื้นฐานการเขียนแบบงานวิศวกรรม
Fundamental Engineering Drafting
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming
ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์
Scientific Laboratory
เทอมที่ 2
แคลคูลัสหลายตัวแปร
Multivariable Calculus
สถิติสําหรับการแก้ปัญหา
Statistics for Problem Solving
อุปกรณ์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์
Electronic Devices and Circuits
ฟิสิกส์ 2
Physics II
การออกแบบระบบดิจิทัล และสมองกลฝังตัวพื้นฐาน
Basic Digital and Embedded System Design
พื้นฐานการเขียนแบบงานวิศวกรรม
Fundamental Electrical Engineering
การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
AC Circuit Analysis
ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้า
Electrical Engineering Laboratory
เทอมที่ 3
การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
Electrical Instruments and Measurements
อิเล็กทรอนิกส์กําลัง
Power Electronics
โลกและอวกาศ
Earth and Space

เทอมที่ 1

พีชคณิตเชิงเส้นและสมการเชิงอนุพันธ์
Linear Algebra and Differential Equations
วัสดุวิศวกรรม
Engineering Materials
ระบบควบคุมอัตโนมัติ
Automatic Control Systems
เครื่องจักรไฟฟ้า
Electrical Machines
การสื่อสารกับการประยุกต์ทางแม่เหล็กไฟฟ้า
Communications and Electromagnetics Applications
ปัญญาประดิษฐ์และวิทยาศาสตร์ข้อมูล
AI and Data Science
ปฏิบัติการพลังงานแสงอาทิตย์
Solar Energy Laboratory
ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
English for Engineering and Technology

เทอมที่ 2

วิยุตคณิต
Discrete Mathematics
พีแอลซี/สกาดาสำหรับระบบควบคุมอัตโนมัติ
PLC/SCADA for Automatic Control Systems
การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย
Data Communication and Network
ไดอะแกรมไฟฟ้าและมาตรฐานความปลอดภัย
Electrical Schematics and Safety Standards
การประยุกต์ใช้งานเครื่องจักรไฟฟ้า
Electrical Machines Application
โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า 1
Electrical Engineering Project I

เทอมที่ 3

ภาษาอังกฤษธุรกิจสำหรับที่ทำงาน
Business English for the Workplace
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
เทอมที่ 1
โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า 2
Electrical Engineering Project II
จรรยาบรรณสำหรับวิศวกร
Ethics for Engineers
พื้นฐานวิศวกรรมเครื่องกล
Basic Mechanical Engineering
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
เซนเซอร์และระบบในอุตสาหกรรม
Industrial Sensors and System
การปรับพีไอดี และการควบคุมกระบวนการในอุตสาหกรรม
PID Tuning and Industrial Process Control
การควบคุมแบบปัญญาประดิษฐ์และระบบฟัซซีลอจิก
Artificial Intelligent Control and Fuzzy Logic Systems
วิศวกรรมหุ่นยนต์
Robotic Engineering
สกาดาและระบบควบคุมขั้นสูงสำหรับอุตสาหกรรม
SCADA and Advanced Industrial Control Systems
ไอโอทีอุตสาหกรรมสำหรับระบบควบคุมและเครื่องมือวัด
Industrial IoT for Control and Instrumentation Systems
การออกแบบพีไอดีและระบบควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์
PID Designs and Computer Control Systems
การประยุกต์ใช้ระบบสมองกลฝังตัวในวิศวกรรมอัตโนมัติ
Embedded Application in Automation Engineering
การจัดการและการประกันคุณภาพในอุตสาหกรรม
Industrial Management and Quality Assurance
หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมการควบคุมอุตสาหกรรม
Special Topics in Industrial Control Engineering
หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมเครื่องมือวัด
Special Topics in Instrumentation Engineering
การออกแบบการผลิตอัจฉริยะ
Smart Manufacturing Design
คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบและผลิตและการพิมพ์ 3 มิติสำหรับระบบควบคุมอุตสาหกรรม
CAD/CAM and 3D Printing for Industrial Control Systems
ตัวขับเร้าและอุปกรณ์ควบคุมตัวสุดท้ายสำหรับระบบควบคุมอุตสาหกรรม
Actuator and Final Control Element for Industrial Control Systems
เทอมที่ 1
แคลคูลัสเบื้องต้น
Elementary Calculus
เคมี
Chemistry
ปฏิบัติการเคมี
Chemistry Laboratory
ฟิสิกส์ 1
Physics I
ปฏิบัติฟิสิกส์
Physics Laboratory
ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์
Scientific Laboratory
พื้นฐานการเขียนแบบงานวิศวกรรม
Fundamental Engineering Drafting
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming
เทอมที่ 2
แคลคูลัสหลายตัวแปร
Multivariable Calculus
สถิติสำหรับการแก้ปัญหา
Statistics for Problem Solving
อุปกรณ์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์
Electronic Devices and Circuits
ฟิสิกส์ 2
Physics II
การออกแบบระบบดิจิทัล และสมองกลฝังตัวพื้นฐาน
Basic Digital and Embedded System Design
พื้นฐานการเขียนแบบงานวิศวกรรม
Fundamental Electrical Engineering
การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
AC Circuit Analysis
เทอมที่ 3
การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
Electrical Instruments and Measurements
โลกและอวกาศ
Earth and Space
ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้า
Electrical Engineering Laboratory
ปฏิบัติการพลังงานแสงอาทิตย์
Solar Energy Laboratory  
เทอมที่ 1
พีชคณิตเชิงเส้นและสมการเชิงอนุพันธ์
Linear Algebra and Differential Equations
ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
English for Engineering and Technology
วัสดุวิศวกรรม
Engineering Materials
กลศาสตร์วิศวกรรม
Engineering Mechanics
ระบบควบคุมอัตโนมัติ
Automatic Control Systems
การสื่อสารกับการประยุกต์ทางแม่เหล็กไฟฟ้า
Communications and Electromagnetics Applications
เครื่องจักรไฟฟ้า
Electrical Machines
เทอมที่ 2
วิยุตคณิต
Discrete Mathematics
พีแอลซี/สกาดาสําหรับระบบควบคุมอัตโนมัติ
PLC/SCADA for Automatic Control Systems
ไดอะแกรมไฟฟ้าและมาตรฐานความปลอดภัย
Electrical Schematics and Safety Standards
การประยุกต์ใช้งานเครื่องจักรไฟฟ้า
Electrical Machines Application
อิเล็กทรอนิกส์กำลัง
Power Electronics
โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า 1
Electrical Engineering Project I
จรรยาบรรณสำหรับวิศวกร
Ethics for Engineers
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
เทอมที่ 3
ภาษาอังกฤษธุรกิจสำหรับที่ทำงาน
Business English for the Workplace
การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย
Data Communication and Network
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
เทอมที่ 1
โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า 2
Electrical Engineering Project II
ปัญญาประดิษฐ์และวิทยาศาสตร์ข้อมูล
AI and Data Science
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
วิชาหมวดเฉพาะบังคับตามกลุ่มวิชา
เซนเซอร์และระบบในอุตสาหกรรม
Industrial Sensors and System
การปรับพีไอดี และการควบคุมกระบวนการในอุตสาหกรรม
PID Tuning and Industrial Process Control
การควบคุมแบบปัญญาประดิษฐ์และระบบฟัซซีลอจิก
Artificial Intelligent Control and Fuzzy Logic Systems
วิศวกรรมหุ่นยนต์
Robotic Engineering
สกาดาและระบบควบคุมขั้นสูงสำหรับอุตสาหกรรม
SCADA and Advanced Industrial Control Systems
ไอโอทีอุตสาหกรรมสำหรับระบบควบคุมและเครื่องมือวัด
Industrial IoT for Control and Instrumentation Systems
การออกแบบพีไอดีและระบบควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์
PID Designs and Computer Control Systems
การประยุกต์ใช้ระบบสมองกลฝังตัวในวิศวกรรมอัตโนมัติ
Embedded Application in Automation Engineering
การจัดการและการประกันคุณภาพในอุตสาหกรรม
Industrial Management and Quality Assurance
หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมการควบคุมอุตสาหกรรม
Special Topics in Industrial Control Engineering
หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมเครื่องมือวัด
Special Topics in Instrumentation Engineering
การออกแบบการผลิตอัจฉริยะ
Smart Manufacturing Design
คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบและผลิตและการพิมพ์ 3 มิติสำหรับระบบควบคุมอุตสาหกรรม
CAD/CAM and 3D Printing for Industrial Control Systems
ตัวขับเร้าและอุปกรณ์ควบคุมตัวสุดท้ายสำหรับระบบควบคุมอุตสาหกรรม
Actuator and Final Control Element for Industrial Control Systems
จ่ายครั้งแรก 10,000 บาท ตลอดหลักสูตร 4 ปี 333,550 บาท
ดูรายละเอียดค่าใช้จ่าย
4 ปี
เทียบโอน วันธรรมดา
เทียบโอน เสาร์-อาทิตย์

Facilities

สิ่งอำนวยความสะดวกที่จะได้รับ
ในหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์

  • ห้องปฏิบัติการพื้นฐานวิศวกรรมไฟฟ้า
  • ห้องปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า
  • ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
  • ห้องปฏิบัติการระบบไฟฟ้ากำลังและระบบป้องกัน
  • ห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์กำลังและการควบคุมเครื่องจักรไฟฟ้าอุตสาหกรรม
  • ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง
  • ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมส่องสว่าง
  • ห้องปฏิบัติการไมโครโปรเซสเซอร์
  • ห้องปฏิบัติการทางเสียง Audio Electronic
  • ห้องปฏิบัติการระบบโทรคมนาคม
  • ห้องปฏิบัติการสื่อสารไร้สาย
  • ห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน
  • ห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ขั้นสูง
  • ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์
  • ห้องปฏิบัติการเคมี
  • ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
คณาจารย์จากมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ

คณาจารย์คุณภาพที่จบมาจากมหาวิทยาลัยชั้นนำจากต่างประเทศ

เพื่อพัฒนาคุณภาพบัณฑิตที่จบจากหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ (Communication and Electronics Engineering) ให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากลและมีคุณภาพตรงตามความต้องการของประเทศชาติ MUT จึงได้มีการคัดเลือกคณาจารย์คุณภาพที่จบมาจากมหาวิทยาลัยชั้นนำจากต่างประเทศ

United Kingdom

  • Imperial College London, UK
  • University of Sheffield, UK
  • University of Surrey, UK
  • University of Leeds, UK
  • Coventry University, UK
  • Heriot Watt University, Scotland

The United States of America

  • Indiana University, USA
  • Florida Institute of Technology, USA
  • Texas A&M University, USA
  • University of Maryland, USA
  • University of California, USA
  • University of Michigan, USA

Australia

  • University of New South Wale (UNSW), Australia
  • University of Sydney, Australia
  • Monash University Melbourne, Australia

Japan

  • Toyohashi University of Technology, Japan
  • Nagaoka University of Technology, Japan
  • Kitasato University, Japan
  • Gifu University, Japan

Germany

  • The University of Veterinary Medicine Hannover, Germany
  • Leibniz University Hannover, Germany

คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์

นักศึกษาที่เรียนวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ จะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำงานหรือการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งการดีไซน์ การออกแบบ และการสร้างแผงวงจรพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะสามารถพัฒนาและสร้างสรรค์ไปสู่การทำงานในอุตสาหกรรมแขนงอื่น ๆ เช่น การแพทย์ ยานยนต์ นวัตกรรมด้านต่าง ๆ เป็นต้น

นักศึกษาที่ต้องการเรียนในหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ จะต้องมีพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และทักษะการเขียนโปรแกรมพื้นฐาน รวมถึงความรู้เบื้องต้นด้านกระบวนการทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้สามารถต่อยอดองค์ความรู้เหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่สำหรับผู้ที่ไม่มีพื้นฐาน ในกระบวนการเรียนการสอนของเราตั้งแต่ปีหนึ่งได้เริ่มสอนตั้งแต่วิชาพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ พื้นฐานด้านวิศวกรรมศาสตร์ ทำให้มั่นใจได้ว่านักศึกษาจะสามารถเข้าใจเนื้อหาได้อย่างแน่นอน

  • สมัครเรียนผ่านเว็บไซต์ www.mut.ac.th แจ้งข้อมูลให้ครบถ้วนเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ
  • ลงทะเบียนเรียนด้วยตัวเองที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร อาคาร MII สำนักประชาสัมพันธ์และบริการวิชาการ เปิดรับสมัคร-ลงทะเบียน ทุกวัน ไม่เว้นวันหยุด 9:00-17:00 น.
  • ลงทะเบียนเรียนออนไลน์ (แจ้งความประสงค์ ลงทะเบียนเรียนออนไลน์ กับเจ้าหน้าที่ 02-988-4021-24 ได้ทุกวัน)
  • ค่าสมัคร 300 บาท สามารถชำระผ่านธนาคารกรุงเทพทุกสาขา หรือ ที่มหาวิทยาลัยฯ
  • รูปถ่าย หน้าตรงขนาด 1 นิ้ว 1 รูป
  • สำเนาวุฒิการศึกษา 2 ชุด (กรณีกำลังศึกษาอยู่เทอมสุดท้าย สามารถยื่นใบรับรองเกรด 5 เทอม (วุฒิ ม.6/ปวช.) หรือ 3 เทอม (วุฒิ ปวส.)ได้)
  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของนักศึกษา 1 ชุด
  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ปกครอง 1 ชุด
  • ใบรับรองแพทย์ จาก โรงพยาบาลหรือคลินิก
  • นักศึกษาชาย สำเนาใบสำคัญทางทหาร(สด.9) 1 ชุด
หมายเหตุ
  • เอกสารสำเนาขนาด A4 พร้อมรับรองสำเนาถูกต้องทุกฉบับ
  • กรณีผู้สมัครมีการเปลี่ยนชื่อ–สกุล ที่ไม่ตรงกับเอกสารการสำเร็จการศึกษา หรือเอกสารขึ้นทะเบียน ให้แนบสำเนาหลักฐานการเปลี่ยนชื่อ-สกุล 2 ชุด
วิศวะคอมพิวเตอร์

หลักสูตรวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์และออโตเมชัน พัฒนาความรู้เพื่อสายงานแห่งอนาคต

หลักสูตรวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์และออโตเมชันที่ MUT เป็นหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาสามารถพัฒนาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเมคคาทรอนิกส์ ปัญญาประดิษฐ์ หุ่นยนต์ และเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมได้ โดยนอกจากจะเน้นการปูพื้นฐานทางทฤษฎีแล้ว เรายังให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติ เพื่อเสริมสร้างทักษะทั้ง Hard Skills และ Soft Skills ที่จำเป็นต่อการทำงานในอนาคต ทั้งทักษะการทำงานเป็นทีม การวิเคราะห์ และการแก้ไขปัญหา ซึ่งจะช่วยให้บัณฑิตที่จบไป สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับผู้ที่สนใจสมัครเรียนในหลักสูตรนี้ หรือต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อกับ MUT ได้ที่

  • สำนักประชาสัมพันธ์และบริการวิชาการ โทร.02-988-3650-66 ต่อ 1105-7 สายตรง 02-988-4021-24 หรือ https://www.facebook.com/mutmahanakorn
  • สำนักทะเบียน 02-988-3650-66 ต่อ 2312-14 หรือ https://www.facebook.com/mutregoffice
  • ฝ่ายกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา 02-988-3650-66 ต่อ 2323, 2324 สายตรง 02-988-4035 หรือ https://www.facebook.com/studentloanMUT

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Accept All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save