วิศวะคอมพิวเตอร์

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์
Computer and Artificial Intelligence (Ai) Engineering

วิศวกรรมวิทยาการข้อมูลและการบริหารงานระบบ

ในหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์นี้ นับว่าเป็นสาขาที่ช่วยเพิ่มโอกาสในการหางานให้กับนักศึกษาได้เป็นอย่างดี เป็นสายงานที่ยังขาดแคลนอยู่มากในหลายประเทศ ครอบคลุมเนื้อหาวิชาพื้นฐาน ทั้งในส่วนของ Software, Hardware และ Network ตลอดจนเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรู้และฝึกฝนทักษะความรู้ความสามารถที่สนใจได้ โดยแบ่งเป็น 2 สาขาวิชาเอก คือ

  • วิศวกรรมวิทยาการข้อมูลและการบริหารงานระบบ (Data Science and Systems Management Engineering)
  • วิศวกรรมสมองกลฝังตัว อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งและระบบเครือข่าย (Embedded IoT and Network Engineering)

ในแต่ละสาขาวิชาเอกจะได้เรียนเน้นเฉพาะทักษะวิชาชีพที่จำเป็นและทันสมัยในสาขาวิชาเอกนั้น ๆ ซึ่งจะส่งผลให้บัณฑิตสามารถทำงานกับทุกองค์กรในภาคอุตสาหกรรมได้

ทำความรู้จักหลักสูตรวิศวกรรมวิทยาการข้อมูลและการบริหารงานระบบ

ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามามีส่วนสำคัญอย่างมากในชีวิตประจำวัน โดยในหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์นี้ สาขาวิศวกรรมวิทยาการข้อมูลและการบริหารงานระบบ จะช่วยปูพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ให้แก่นักศึกษา เพื่อให้นักศึกษาที่เรียนจบไปสามารถพัฒนาความรู้ ความสามารถ และกลายเป็นบุคลากรที่สร้างประโยชน์ทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ให้แก่ประเทศได้

วิศวะคอมพิวเตอร์เรียนอะไรบ้าง?

สำหรับการเรียนเนื้อหาในชั้นปีที่ 1 จะเริ่มตั้งแต่การปูพื้นฐานวิศวะคอมพิวเตอร์ รวมถึงพื้นฐานการเขียนโปรแกรม ส่วนชั้นปีที่ 2-4 จะเริ่มแยกสาขาวิชาเอกตามที่นักศึกษาเลือก ซึ่งในส่วนของสาขาวิชาวิศวกรรมวิทยาการข้อมูลและการบริหารงานระบบ นักศึกษาจะได้เรียนรู้การออกแบบ วิธีการจัดเก็บข้อมูล รวมถึงการสร้างระบบเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล แสดงผล และส่งต่อไปยังผู้ใช้งาน จนสามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด โดยจะเน้นพัฒนาบนคอมพิวเตอร์เป็นหลัก และทำแพลตฟอร์มต่าง ๆ ขึ้นมาเพื่อจัดการเก็บข้อมูล

  • Artificial Intelligence ปัญญาประดิษฐ์
  • Software Engineering and Systems Design
  • Analysis วิศวกรรมซอฟต์แวร์และการวิเคราะห์ออกแบบระบบ
  • Data Structure and Algorithms โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
  • Database Systems Design การออกแบบระบบการจัดการฐานข้อมูล
  • Software Testing and Quality Assurance การทดสอบและประกันคุณภาพซอฟต์แวร์
  • Fundamental of Data Science พื้นฐานวิทยาศาสตร์ข้อมูล
  • NoSQL & Statistical Programming ระบบข้อมูลแบบไม่เชิงสัมพันธ์ และ โปรแกรมสถิติ
  • Enterprise Data Intelligence การบริหารข้อมูลอย่างชาญฉลาด

เรียนจบวิศวะคอมพิวเตอร์ ทำงานอะไรได้บ้าง

อาชีพที่รองรับหลังเรียนจบหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ นับว่ามีความหลากหลาย และมีความมั่นคงสูง เนื่องจากเป็นสายอาชีพที่ยังขาดแคลนและเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานเป็นอย่างมาก โดยฐานเงินเดือนของวิศวะคอมพิวเตอร์จะขึ้นอยู่กับประสบการณ์การทำงานและระดับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรด้วยเช่นกัน

  • วิศวกรคอมพิวเตอร์ ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 32,000 – 56,000 บาท
  • นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 20,000 – 40,000 บาท
  • ผู้ดูแลและออกแบบระบบโครงข่าย ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 20,000 – 35,000 บาท
  • วิศวกรที่ปรึกษาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 22,000 – 40,000 บาท
  • วิศวกรโครงการ ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 30,000 – 50,000 บาท
  • วิศวกรวิเคราะห์ ออกแบบระบบงานและฐานข้อมูล ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 24,000 – 37,000 บาท
  • นักเขียนและพัฒนาโปรแกรม ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 20,000 – 50,000 บาท
  • ผู้เชี่ยวชาญระบบข้อมูลขนาดใหญ่ และ ข้อมูล IoT ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 30,000 – 60,000 บาท
  • นักพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ ,นักพัฒนาระบบ IoT ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 25,000 – 30,000 บาท
  • นักวิเคราะห์ระบบความมั่นคงไซเบอร์ ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 22,000 – 40,000 บาท
  • ผู้ทดสอบช่องโหว่และการเจาะระบบเครือข่าย ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 25,000 – 40,000 บาท
  • ผู้ปรับสมรรถนะระบบ และ ผู้ทดสอบระบบ ฐานเงินเดือนเริ่มต้นประมาณ 25,000 – 40,000 บาท

คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.)

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์

Bachelor of Engineering (B.Eng.)

Computer and Artificial Intelligence (Ai) Engineering

สาขาวิศวกรรมวิทยาการข้อมูลและการบริหารงานระบบ

Data science and System Management Engineering

หลักสูตรที่ได้การรับรองคุณวุฒิ จากสำนักงาน  

ก.พ.

4 ปี

ปกติ

4 ปี

สหกิจ

4 ปี

4 ปี

สหกิจ

2 ปี

เทียบโอน วันธรรมดา

2.5 ปี

เทียบโอน เสาร์-อาทิตย์

เทียบโอน

วันธรรมดา

เทียบโอน

เสาร์-อาทิตย์

รองรับโครงการเทียบโอนประสบการณ์

แผนการเรียน เสาร์-อาทิตย์

กยศ.

กรอ.

Human Capital

0

จำนวนบัณฑิตของเรา​

เนื้อหาการเรียนในแต่ละชั้นปี

เทอมที่ 1

แคลคูลัสเบื้องต้น

Elementary Calculus

สะเต็ม

STEM

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

Introduction to Computer

ปฏิบัติการนวัตกรรมทางวิศวกรรม

Innovation Engineering Laboratory

โลกและอวกาศ

Earth and Space

เทอมที่ 2

วิยุตคณิต

Discrete Mathematics

นวัตกรรมวิศวกรรมและการออกแบบ

Engineering Innovation and Design

สถิติสำหรับการแก้ปัญหา

Statistics for Problem Solving

การโปรแกรมภาษาไพธอนและภาษาซี

Python and C Programming Language

เทอมที่ 1

พีชคณิตเชิงเส้นและสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ

Linear Algebra and Differential Equations

โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี

Digital Systems Design

สถาปัตยกรรมและโครงสร้างคอมพิวเตอร์

Computer Architecture and Organization

โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี

Data Structure and Algorithms

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

Object-oriented programming

สถาปัตยกรรมและโครงสร้างคอมพิวเตอร์

Computer Architecture and Organization

พื้นฐานวิศวกรรมไฟฟ้า

Fundamental Electrical Engineering

พื้นฐานวิทยาศาสตร์ข้อมูล

Fundamental of Data Science

เทอมที่ 2

ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข

Numerical Methods

ปัญญาประดิษฐ์

Artificial Intelligence

วิศวกรรมซอฟต์แวร์และการวิเคราะห์ออกแบบระบบ

Software Engineering and Systems Design Analysis

การออกแบบระบบสมองกลฝังตัวพื้นฐาน

Basic Embedded Systems Design

เครือข่ายคอมพิวเตอร์และความมั่นคงปลอดภัย

Computer Network and Security

ระบบปฏิบัติการ

Operating Systems

เทอมที่ 1
ภาษาอังกฤษสำหรับสเต็มศึกษา
English for STEM Education
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
Database Systems Design
การบริหารโครงการ
Project Management
การติดตั้งคลาวด์และ ออกแบบดาต้าเซ็นเตอร์
Cloud Setup and Data Center design
การเขียนโปรแกรมเครือข่ายบนอุปกรณ์เคลื่อนที่และข้ามแพลตฟอร์ม
Mobile and Cross Platform Programming
การเขียนโปรแกรมและประยุกต์ใช้งานบนอินเทอร์เน็ต
Internet Application and Programming
วิชาเลือกเสรี
เทอมที่ 2
ภาษาอังกฤษเพื่อการทำงาน
Business English for the Workplace
การประมวลภาพดิจิทัลและทัศนศาสตร์ของคอมพิวเตอร์
Digital Image Processing and Computer Vision
ระบบการค้นคืนสารสนเทศ
Information Retrieval Systems
จริยธรรมและกฎหมายทางคอมพิวเตอร์
Computer Ethics and Laws
รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก
รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก
วิชาเลือกเสรี
เทอมที่ 3
การฝึกงานอุตสาหกรรม
Industrial Training
เทอมที่ 1

พลิกความคิด ชีวิตเปลี่ยน

Change Your Thoughts, Change Life

โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1

Computer Engineering Project I

รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก

รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก

เทอมที่ 2

โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2

Computer Engineering Project II

รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก

รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก

หมวดวิชาเฉพาะ
หัวข้อพิเศษทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
Special Topics in Computer Engineering
หัวข้อพิเศษทางด้านวิศวกรรมวิทยาการข้อมูล
Special Topics in Data Science Engineering
การวางแผนทรัพยากรองค์กร
Enterprise Resource Planning
การทดสอบและประกันคุณภาพซอฟต์แวร์
Software Testing and Quality Assurance
ระบบข้อมูลแบบไม่เชิงสัมพันธ์ และ โปรแกรมสถิติ
NoSQL & Statistical Programming
การปรับประสิทธิภาพของระบบ
Systems Performance Tuning
การบริหารข้อมูลอย่างชาญฉลาด
Enterprise Data Intelligence
ระบบธุรกิจอัจฉริยะ
Business Intelligence
การจำลองข้อมูลด้วยแผนภาพ
Data Visualization
ปัญญาประดิษฐ์สำหรับตัวแบบจำลอง
AI for Simulation Modeling
โครงข่ายประสาทเทียม
Neural Network
ดีไซน์แพตเทิร์น
Design Pattern
การประมวลผลภาษาธรรมชาติ
Natural Language Processing
เทอมที่ 1
แคลคูลัสเบื้องต้น
Elementary Calculus
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Introduction to Computer
ปฏิบัติการนวัตกรรมทางวิศวกรรม
Innovation Engineering Laboratory
พื้นฐานวิศวกรรมไฟฟ้า
Fundamental Electrical Engineering
การออกแบบระบบดิจิทัล
Digital Systems Design
ภาษาอังกฤษเพื่อการทำงาน
Business English for the Workplace
เทอมที่ 2
พื้นฐานวิทยาศาสตร์ข้อมูล
Fundamental of Data Science
โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
Data Structure and Algorithms
การโปรแกรมภาษาไพธอนและภาษาซี
Python and C Programming Language
วิศวกรรมซอฟต์แวร์และการวิเคราะห์ออกแบบระบบ
Software Engineering and Systems Design Analysis
การออกแบบระบบสมองกลฝังตัวพื้นฐาน
Basic Embedded Systems Design
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และความมั่นคงปลอดภัย
Computer Network and Security
เทอมที่ 3
วิยุตคณิต
Discrete Mathematics
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
Object-oriented programming
ปัญญาประดิษฐ์
Artificial Intelligence
เทอมที่ 1
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
Database Systems Design
การบริหารโครงการ
Project Management
การติดตั้งคลาวด์และ ออกแบบดาต้าเซ็นเตอร์
Cloud Setup and Data Center design
การเขียนโปรแกรมเครือข่ายบนอุปกรณ์เคลื่อนที่และข้ามแพลตฟอร์ม
Mobile and Cross Platform Programming
การเขียนโปรแกรมและประยุกต์ใช้งานบนอินเทอร์เน็ต
Internet Application and Programming
พีชคณิตเชิงเส้นและสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ
Linear Algebra and Differential Equations
โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1
Computer Engineering Project I
เทอมที่ 2
การประมวลภาพดิจิทัลและทัศนศาสตร์ของคอมพิวเตอร์
Digital Image Processing and Computer Vision
ระบบปฏิบัติการ
Operating Systems
ระบบการค้นคืนสารสนเทศ
Information Retrieval Systems
รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก
รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก
รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก
โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2
Computer Engineering Project II
เทอมที่ 3
รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก
รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก
หมวดวิชาเฉพาะ
หัวข้อพิเศษทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
Special Topics in Computer Engineering
หัวข้อพิเศษทางด้านวิศวกรรมวิทยาการข้อมูล
Special Topics in Data Science Engineering
การวางแผนทรัพยากรองค์กร
Enterprise Resource Planning
การทดสอบและประกันคุณภาพซอฟต์แวร์
Software Testing and Quality Assurance
ระบบข้อมูลแบบไม่เชิงสัมพันธ์ และ โปรแกรมสถิติ
NoSQL & Statistical Programming
การปรับประสิทธิภาพของระบบ
Systems Performance Tuning
การบริหารข้อมูลอย่างชาญฉลาด
Enterprise Data Intelligence
ระบบธุรกิจอัจฉริยะ
Business Intelligence
การจำลองข้อมูลด้วยแผนภาพ
Data Visualization
ปัญญาประดิษฐ์สำหรับตัวแบบจำลอง
AI for Simulation Modeling
โครงข่ายประสาทเทียม
Neural Network
ดีไซน์แพตเทิร์น
Design Pattern
การประมวลผลภาษาธรรมชาติ
Natural Language Processing
เทอมที่ 1
แคลคูลัสเบื้องต้น
Elementary Calculus
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Introduction to Computer
ปฏิบัติการนวัตกรรมทางวิศวกรรม
Innovation Engineering Laborotary
พื้นฐานวิศวกรรมไฟฟ้า
Fundamental Electrical Engineering
การออกแบบระบบดิจิทัล
Digital Systems Design
ภาษาอังกฤษเพื่อการทำงาน
Business English for the Workplace
เทอมที่ 2
พื้นฐานวิทยาศาสตร์ข้อมูล
Fundamental of Data Science
โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
Data Structure and Algorithms
การโปรแกรมภาษาไพธอนและภาษาซี
Python and C Programming Language
วิศวกรรมซอฟต์แวร์และการวิเคราะห์ออกแบบระบบ
Software Engineering and Systems Design Analysis
การออกแบบระบบสมองกลฝังตัวพื้นฐาน
Basic Embedded Systems Design
เทอมที่ 3
วิยุตคณิต
Discrete Mathematics
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
Object-oriented programming
ปัญญาประดิษฐ์
Artificial Intelligence
เทอมที่ 1
พีชคณิตเชิงเส้นและสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ
Linear Algebra and Differential Equations
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
Database Systems Design
การเขียนโปรแกรมและประยุกต์ใช้งานบนอินเทอร์เน็ต
Internet Application and Programming
การเขียนโปรแกรมเครือข่ายบนอุปกรณ์เคลื่อนที่และข้ามแพลตฟอร์ม
Mobile and Cross Platform Programming
การบริหารโครงการ
Project Management
เทอมที่ 2
การประมวลภาพดิจิทัลและทัศนศาสตร์ของคอมพิวเตอร์
Digital Image Processing and Computer Vision
ระบบปฏิบัติการ
Operating Systems
ระบบการค้นคืนสารสนเทศ
Information Retrieval Systems
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และความมั่นคงปลอดภัย
Computer Network and Security
โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1
Computer Engineering Project I
รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก
เทอมที่ 3
รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก
รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก
เทอมที่ 1
โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์2
Computer Engineering Project II
การติดตั้งคลาวด์และ ออกแบบดาต้าเซ็นเตอร์
Cloud Setup and Data Center design
รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก
รายวิชาเลือกเฉพาะตามกลุ่มวิชาเอก
หมวดวิชาเฉพาะ
หัวข้อพิเศษทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
Special Topics in Computer Engineering
หัวข้อพิเศษทางด้านวิศวกรรมวิทยาการข้อมูล
Special Topics in Data Science Engineering
การวางแผนทรัพยากรองค์กร
Enterprise Resource Planning
การทดสอบและประกันคุณภาพซอฟต์แวร์
Software Testing and Quality Assurance
ระบบข้อมูลแบบไม่เชิงสัมพันธ์ และ โปรแกรมสถิติ
NoSQL & Statistical Programming
การปรับประสิทธิภาพของระบบ
Systems Performance Tuning
การบริหารข้อมูลอย่างชาญฉลาด
Enterprise Data Intelligence
ระบบธุรกิจอัจฉริยะ
Business Intelligence
การจำลองข้อมูลด้วยแผนภาพ
Data Visualization
ปัญญาประดิษฐ์สำหรับตัวแบบจำลอง
AI for Simulation Modeling
โครงข่ายประสาทเทียม
Neural Network
ดีไซน์แพตเทิร์น
Design Pattern
การประมวลผลภาษาธรรมชาติ
Natural Language Processing

จ่ายครั้งแรก 10,000 บาท ตลอดหลักสูตร 4 ปี 327,650 บาท

ดูรายละเอียดค่าใช้จ่าย
4 ปี
เทียบโอน วันธรรมดา
เทียบโอน เสาร์-อาทิตย์

Facilities

สิ่งอำนวยความสะดวกที่จะได้รับ
ในหลักสูตรวิศวกรรมวิทยาการข้อมูลและการบริหารงานระบบ

  • 3D Printing Room
  • Advanced Electronics LAB
  • Automation Robotic and
  • Electronic : ARE
  • Embedded and AI LAB
  • Process Control and
  • Automation LAB
  • PLC (Programmable Logic Controller Lab) : MITSUBISHI
  • PLC (Programmable Logic Controller Lab) : SIEMENS
  • Robotics LAB
  • Project Room
  • Cooking Science
  • TRUE LAB@MAHANAKORN
  • Indoor Workshop
  • Outdoor Workshop
  • ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์
  • ห้องปฏิบัติการเคมี
  • ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
  • ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีซอฟต์แวร์
  • ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีระบบเครือข่าย
  • ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีมัลติมีเดีย
  • ห้องสตูดิโอ
คณาจารย์จากมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ

คณาจารย์คุณภาพที่จบมาจากมหาวิทยาลัยชั้นนำจากต่างประเทศ

เพื่อพัฒนาคุณภาพบัณฑิตที่จบจากหลักสูตรวิศวกรรมวิทยาการข้อมูลและการบริหารงานระบบ (Data science and System Management Engineering) ให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากลและมีคุณภาพตรงตามความต้องการของประเทศชาติ MUT จึงได้มีการคัดเลือกคณาจารย์คุณภาพที่จบมาจากมหาวิทยาลัยชั้นนำจากต่างประเทศ

United Kingdom

  • Imperial College London, UK
  • University of Sheffield, UK
  • University of Surrey, UK
  • University of Leeds, UK
  • Coventry University, UK
  • Heriot Watt University, Scotland

The United States of America

  • Indiana University, USA
  • Florida Institute of Technology, USA
  • Texas A&M University, USA
  • University of Maryland, USA
  • University of California, USA
  • University of Michigan, USA

Australia

  • University of New South Wale (UNSW), Australia
  • University of Sydney, Australia
  • Monash University Melbourne, Australia

Japan

  • Toyohashi University of Technology, Japan
  • Nagaoka University of Technology, Japan
  • Kitasato University, Japan
  • Gifu University, Japan

Germany

  • The University of Veterinary Medicine Hannover, Germany
  • Leibniz University Hannover, Germany

คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และปัญญาประดิษฐ์

สำหรับน้อง ๆ ที่สนใจเรียนในสาขาวิศวะคอมพิวเตอร์ สาขานี้ไม่ว่าจะผู้หญิงหรือผู้ชายก็สามารถเรียนได้ เนื่องจากเป็นสาขาที่เน้นการทำงานในออฟฟิศเป็นส่วนใหญ่ เหมาะกับน้อง ๆ ที่สนใจการเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์ แต่ไม่อยากทำงานที่ต้องออกไปหน้าไซต์งาน หรือลุยงานหนัก

สำหรับทักษะที่จำเป็นในการเรียนสาขานี้ นักศึกษาจะต้องมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ที่แม่นยำ ซึ่งแน่นอนว่าพื้นฐานที่แต่ละคนมีนั้นไม่เหมือนกัน ในชั้นปีที่ 1 MUT จึงจะเน้นไปที่การปูพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ให้แข็งแรงเสียก่อน จากนั้นจึงค่อยเริ่มเข้าสู่เนื้อหาของแต่ละสาขาวิชาย่อย

  • สมัครเรียนผ่านเว็บไซต์ www.mut.ac.th แจ้งข้อมูลให้ครบถ้วนเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ
  • ลงทะเบียนเรียนด้วยตัวเองที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร อาคาร MII สำนักประชาสัมพันธ์และบริการวิชาการ เปิดรับสมัคร-ลงทะเบียน ทุกวัน ไม่เว้นวันหยุด 9:00-17:00 น.
  • ลงทะเบียนเรียนออนไลน์ (แจ้งความประสงค์ ลงทะเบียนเรียนออนไลน์ กับเจ้าหน้าที่ 02-988-4021-24 ได้ทุกวัน)
  • ค่าสมัคร 300 บาท สามารถชำระผ่านธนาคารกรุงเทพทุกสาขา หรือ ที่มหาวิทยาลัยฯ
  • รูปถ่าย หน้าตรงขนาด 1 นิ้ว 1 รูป
  • สำเนาวุฒิการศึกษา 2 ชุด (กรณีกำลังศึกษาอยู่เทอมสุดท้าย สามารถยื่นใบรับรองเกรด 5 เทอม (วุฒิ ม.6/ปวช.) หรือ 3 เทอม (วุฒิ ปวส.)ได้)
  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของนักศึกษา 1 ชุด
  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ปกครอง 1 ชุด
  • ใบรับรองแพทย์ จาก โรงพยาบาลหรือคลินิก
  • นักศึกษาชาย สำเนาใบสำคัญทางทหาร(สด.9) 1 ชุด
วิศวะคอมพิวเตอร์ หมายเหตุ
  • เอกสารสำเนาขนาด A4 พร้อมรับรองสำเนาถูกต้องทุกฉบับ
  • กรณีผู้สมัครมีการเปลี่ยนชื่อ–สกุล ที่ไม่ตรงกับเอกสารการสำเร็จการศึกษา หรือเอกสารขึ้นทะเบียน ให้แนบสำเนาหลักฐานการเปลี่ยนชื่อ-สกุล 2 ชุด

พัฒนาความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ให้แข็งแรง สู่การเป็นวิศวกรคอมพิวเตอร์ที่มีคุณภาพในอนาคต

หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ ไม่เพียงแต่มุ่งเน้นพัฒนานักศึกษาให้มีองค์ความรู้เชิงทฤษฎีด้านวิศวะคอมพิวเตอร์ที่เข้มแข็งเท่านั้น แต่เรายังมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะเชิงปฏิบัติ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้และทักษะในการทำงาน ไปใช้ประโยชน์กับการทำงานในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับผู้ที่สนใจสมัครเรียนในหลักสูตรนี้ หรือต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อกับ MUT ได้ที่

  • สำนักประชาสัมพันธ์และบริการวิชาการ โทร.02-988-3650-66 ต่อ 1105-7 สายตรง 02-988-4021-24 หรือ https://www.facebook.com/mutmahanakorn
  • สำนักทะเบียน 02-988-3650-66 ต่อ 2312-14 หรือ https://www.facebook.com/mutregoffice
  • ฝ่ายกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา 02-988-3650-66 ต่อ 2323, 2324 สายตรง 02-988-4035 หรือ https://www.facebook.com/studentloanMUT

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Accept All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save